วันเสาร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

สับเซตและพาวเวอร์เซต

                   สับเซต (Subset)

การที่เซต A จะเป็นสับเซตของเซต B ได้นั้นสมาชิกทุกตัวของเซต A จะต้องเป็นสมาชิกของเซต B
สัญลักษณ์เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A  B
เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A  B

A = {1, 2}     B = {2, 3}
C = {1, 2, 3}     D = {1, 2, 3, 4}
A  B, A  C, A  D
B  A, B  C, B  D
C  A, C  B, C  D
D  A, D  B, D  C
หมายเหตุ1. เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวมันเอง (A  A)
2. เซตว่าง เป็นสับเซตของทุก ๆ เซต (  A) 
3. ถ้า A   แล้ว A = 
4. ถ้า A  B และ B  C แล้ว A  C
5. A = B ก็ต่อเมื่อ A  B และ B  A

เพาเวอร์เซต (Power Set)
ถ้า A เป็นเซตใด ๆ เพาเวอร์ของเซต A คือ เซตที่มีสมาชิกเป็นสับเซตทั้งหมดของ A เขียนแทนด้วย P(A) 

เซต AP(A)
{}
{a}{, {a}}
{a, b}{, {a}, {b}, {a, b}}
{a, b, c}{, {a}, {b}, {c}, {a, b}, {a, c}, {b, c}, {a, b, c}}

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ

สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ มีดังนี้ 1. สมบัติปิด 2. สมบัติการสลับที่ 3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม 4. สมบัติการมีเอกลักษ...