การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning)
การให้เหตุผลแบบนี้เป็ นการสรุปผลโดยใช้
ประสบการณ์ หรือใช้เหตุการณ์เฉพาะซึ่งเกิดขึ้นซํ้
าๆ กนหลายครั ั ้งมาคาดคะเนผลสรุป หรือสรุปเป็ นกฎเกณฑ์
ผลสรุปที่ได้อาจเป็ นจริงหรือไม่
เป็ นจริงก็ได้
ข้อควรรู้
1.ข้อสรุปของการให้เหตุผลแบบอุปนัยอาจจะไม่จริงเสมอไป
2.การสรุปผลของการให้เหตุผลแบบอุปนัยอาจขึ้นอยูก่ บั ประสบการณ์ของผ้สรู ุป
3.ข้อสรุปที่ได้จากการให้เหตุผลแบบอุปนัยไม่จําเป็ นต้องเหมือนกน ั
ตัวอยาง่ เหตุ 1.วันนี้สุริยารักพิมพ์ใจ
2.วันพรุ่งนี้สุริยารักพิมพ์ใจ
ผลสรุป สุริยารักพิมพ์ใจตลอดไป
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ มีดังนี้ 1. สมบัติปิด 2. สมบัติการสลับที่ 3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม 4. สมบัติการมีเอกลักษ...
-
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) การให้เหตุผลแบบนี้เป็ นการสรุปผลโดยใช้ ประสบการณ์ หรือใช้เหตุการณ์เฉพาะซึ่งเกิดขึ้นซํ้ าๆ กนหล...
-
การที่เซต A จะเป็นสับเซตของเซต B ได้นั้นสมาชิกทุกตัวของเซต A จะต้องเป็นสมาชิกของเซต B สัญลักษณ์ เซต A เป็นสับเซตของเ...
-
ในทางคณิตศาสตร์ เราใช้คำว่าเซตในความหมายของคำว่า กลุ่ม หมู่ เหล่า กอง ฝูง ชุด และเมื่อกล่างถึงเซตของสิ่งใด ๆ จะทราบได้ทันทีว่าในเซตนั้นมีอะ...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น